เมนู

5. อาสววิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำทาน ฯลฯ ศีล
ฯลฯ อุโบสถกรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น กระทำกุศลกรรมนั้นให้
เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ
ออกจากฌาน ฯลฯ
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้น
กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น
ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.

4. อนันตรปัจจัย


[387] 1. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม ที่เกิดก่อน เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม ที่เกิดขึ้นหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
2. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสววิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่สหรคตด้วยโทมนัส
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
3. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย
โทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ และ
โมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
4. อาสววิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสววิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรม ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสววิปปยุตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย.

อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, ฯลฯ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
5. อาสววิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของ
อนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
6. อาสววิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ โมหะ ที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส
ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ และโมหะ ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย.
อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคต
ด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
7. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่
สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
8. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อาสววิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทังหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่โมหะ ที่สหรคต
ด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดหลัง ๆ
ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคต
ด้วยอุทธัจจะ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
9. อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสาวววิปปยุตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตตธรรม และอาสววิปปยุตตธรรม ด้วย
อำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่
สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิดก่อน ๆ และโมหะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย
ที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ที่เกิด
หลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

5. สมนันตรปัจจัย


1. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

6. สหชาตปัจจัย ฯลฯ 8. นิสสยปัจจัย


ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

มี 9 วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย มี 6 วาระ
ฯลฯ เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย มี 9 วาระ

9. อุปนิสสยปัจจัย


[388] 1. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสวสัมปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ
ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทังหลาย
ที่เป็นอาสวสัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
2. อาสวสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาสววิปปยุตต-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย